"เมียนมา" หลังปลดแอกจากการเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ก็มักถูกแปะป้ายจากสายตาคนนอกว่าเป็นประเทศที่ "ถูกแช่แข็ง" และกลายเป็น "ฤๅษีแห่งเอเชีย" ที่โดดเดี่ยวตัวเองออกจากการมืองโลกในยุคสงครามเย็น
ทว่าในความเป็นจริงนั้น ฤๅษีตนนี้มี "ความเคลื่อนไหว" และมีปัญหาทั้งจากภายในและภายนอกประเทศที่ "ร้อนระอุ"
ย้อนอ่านประวัติศาสตร์การเมืองร่วมสมัยผ่านมุมมองการต่างประเทศของเมียนมา
เพื่อเข้าใจถึงต้นตอปัญหาที่ยังคงเกิดขึ้นอยู่ทุกวันนี้
สารบัญ :
คำนิยม สงคราม ความหวัง และ "พม่าศึกษา" โดย ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. สุรชาติ บำรุงสุข
1.ไทยกับเมียนมาในบริบทสงครามเย็น
รัฐบาลเมียนมากับกองกำลังกลุ่มชาติพันธุ์
ขบวนการค้ายาเสพติด
จีนคณะชาติ
ไทยในฐานะพันธมิตรของสหรัฐอเมริกา
ไทยกับเมียนมาในบริบทสงครามเย็น
2.เมียนมากับความเป็นกลางทางการเมือง
นโยบายต่างประเทศเมียนมาในช่วงตั้งไข่
การรักษาความเป็นกลางเชิงบวก: นโยบายการต่างประเทศแบบไร้ข้อผูกมัด
ภาพรวมการดำเนินนโยบายการต่างประเทศเมียนมา 4 ช่วง (ค.ศ.1948-1958)
3.สงคราม เชื้อชาติ และกองกำลังกลุ่มชาติพันธุ์
ความขัดแย้งทางชาติพันธุ์กับสงครามกลางเมือง
ความขัดแย้งกับพรรคคอมมิวนิสต์พม่า
สงครามกับกองกำลังกะเหรี่ยง
จากสงครามเชื้อชาติสางครามกลางเมือง
จากอูนุสู่นายพลเนวิน กองทัพพม่า และความขัดแย้งกับกลุ่มชาติพันธุ์
กองกำลังกลุ่มชาติพันธุ์ภายใต้รัฐบาลทหารของนายพลเนวิน
สหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNU) และความเคลื่อนไหงตามแนวชายแดนไทย-เมียนมา
เหตุการณ์ 8888 และกองกำลังที่เกิดขึ้นใหม่
4.สามเหลี่ยมทองคำกับขบวนการค้ายาเสพติด
จากฝิ่นสู่เฮโรอีน
CIA เฮโรอีน และสงครามเย็น
สงครามฝิ่น
ฝิ่น สงคราม และความมั่นคง
5.กองกำลังก๊กมินตั๋งและความมั่นคงระหว่างไทย-เมียนมา
ก๊กมินตั๋งกับอำนาจอธิปไตยของเมียนมา
ปัญหากองกำลังก๊กมินตั๋งกับความสัมพันธ์สี่เส้า
กองกำลังก๊กมินต่งและข้อพิพาทไทย-เมียนมา
6.อูนุกับความเคลื่อนไหวในไทย
แผนปล่อยตัวอูนุ
จุดกำเนิดพรรคประชาธิปไตยรัฐสภา (PDP)
พรรคประชาธิปไตยรัฐสภา (PDP) และกองกำลังกลุ่มชาติพันธุ์
ความล้มเหลวของพรรคประชาธิปไตยรัฐสภา (PDP)
7.บทสรุป
ไทย-เมียนมาหลังสงครามเย็น