E-book
฿ 199.00
200.00
Discount 0 %
Barcode : 3000000011073
Book category : กฎหมาย
คำบรรยาย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ปรับปรุงใหม่สุด เล่ม 1 บทที่ 1 การตีความ บทที่ 2 ผู้เสียหาย 1. ผู้เสียหายที่แท้จริง 1.1 มีการกระทำผิดทางอาญาเกิดขึ้น 1.2 บุคคลนั้นได้รับความเสียหายเนื่องจากการกระทำผิดนั้น 1.2.1 มีกฎหมายคุ้มครองบุคคลผู้ได้รับความเสียหาย (1) ความผิดอาญาทั่วไป (2) ความผิดอาญาต่อรัฐ 1.2.2 มีการกระทำฝ่าฝืนกฎหมายต่อบุคคลนั้น 1.3 บุคคลนั้นต้องเป็นผู้เสียหายโดยนิตินัย 1.1.1 ต้องไม่ใช่ผู้สมัครใจเข้ารับผลร้าย หรือยินยอมเข้ารับผลร้ายนั้น 1.1.2 ต้องไม่มีส่วนร่วมในการกระทำผิด 1.1.3 ต้องไม่มีเจตนาที่จะก่อให้เกิดการกระทำอันฝ่าฝืนกฎหมาย 2. ผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหาย 2.1 ผู้มีอำนาจจัดการแทนแต่ต้องรับอนุญาต 2.2 ผู้มีอำนาจจัดการแทนโดยไม่ต้องรับอนุญาต 2.3 ผู้แทนเฉพาะคดี บทที่ 3 บุคคลที่เกี่ยวข้องในคดีอาญา 1. ผู้ถูกดำเนินคดีอาญา 1.1 ผู้ต้องหา 1.2 จำเลย 2. ผู้ดำเนินคดีอาญา 2.1 ผู้เสียหาย 2.2 เจ้าพนักงานของรัฐ 2.2.1 พนักงานฝ่ายปกครอง หรือตำรวจ 2.2.2 พนักงานฝ่ายปกครอง หรือตำรวจชั้นผู้ใหญ่ 2.2.3 พนักงานสอบสวน 2.2.4 พนักงานอัยการ 2.2.5 พนักงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายราชทัณฑ์ 3. นักจิตวิทยาและนักสังคมสงเคราะห์ 4. ทนายความ 5. ศาล บทที่ 4 หมายเรียก หมายอาญา 1. หมายเรียก 1.1 ผู้มีอำนาจออกหมายเรียก 1.2 เหตุแห่งการออกหมายเรียก 1.3 บุคคลที่ถูกหมายเรียก 1.4 แบบของหมายเรียก 1.5 การส่งหมายเรียก 1.6 ผลของการขัดหมายเรียก 1.7 ผู้ถูกเรียกมาตามหมายแต่ไม่ยอมให้การ 2. หมายอาญา 1. ประเภทของหมายอาญา 2. ผู้มีอำนาจออกหมายอาญา 3. แบบของหมายอาญา 4. ผู้มีอำนาจจัดการตามหมายอาญา 5. วิธีการจัดการตามหมายอาญา 6. เหตุออกหมายอาญา 1. หมายจับ 1.1 เหตุออกหมายจับ 1.2 อายุความของหมายจับ 1.3 ขอบเขตและการจัดการตามหมายจับ 2. หมายค้น 3. หมายขัง 4. หมายปล่อย 5. หมายจำคุก บทที่ 5 อำนาจบังคับของเจ้าพนักงานและศาล ก. จับ 1. บุคคลผู้มีอำนาจจับ 1.1 พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ 1.2 พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจชั้นผู้ใหญ่ 1.3 พนักงานสอบสวน 1.4 ราษฎร 2. หลักการจับ 1.1 จับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 78 1.2 ในกรณีที่จำเป็นเจ้าพนักงานหรือราษฎรที่ทำการจับจะจัดการพยาบาล 1.3 จับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 65 1.4 ข้อจำกัดในการจับโดยสถานที่ 3. วิธีการจับแยกออกได้ 2 ส่วน 1.1 เจ้าพนักงานซึ่งทำการจับ 1.2 ราษฎรซึ่งการจับ 1.3 ค้นหรือยึดสิ่งของผู้ถูกจับ 4. ผลของการจับ ข. ควบคุม 1. การควบคุม 1.1 ผู้มีอำนาจควบคุม 1.2 ระยะเวลาควบคุม ค. ขัง 1.1 ขังระหว่างสอบสวน 1.2 ขังระหว่างไต่สวนมูลฟ้อง 1.3 ขังระหว่างพิจารณา ง. จำคุก จ. วิธีคุ้มครองผู้ถูก ควบคุม ขัง จำคุก โดยผิดกฎหมาย 1.1 บุคคลผู้มีอำนาจร้องขอต่อศาลให้ปล่อย 1.2 ร้องต่อศาลที่มีอำนาจ 1.3 อำนาจศาล 1.4 สิทธิอุทธรณ์ฎีกา ฉ. ค้น 1. ค้นในที่รโหฐาน 1.1 ข้อยกเว้นในการค้น 1.2 การทำการค้น 1.3 วิธีการค้น 2. การค้นตัวบุคคล 1.1 การค้นตัวบุคคลที่ถูกจับ 1.2 การค้นตัวบุคคลในที่รโหฐาน 1.3 การค้นตัวบุคคลในที่สาธารณะ ช. วิธีการเกี่ยวกับเอกสารไปรษณีย์โทรเลข ซ. ปล่อยชั่วคราว 1. ประเภทของการปล่อยชั่วคราว 2. การยื่นคำขอให้ปล่อยชั่วคราว 3. หลักเกณฑ์ การพิจารณาปล่อยชั่วคราว 4. วิธีปฏิบัติเมื่อมีการปล่อยชั่วคราว 5. สิทธิของผู้ร้องขอปล่อยชั่วคราว 6. ระยะเวลาในสัญญาประกัน 1.1 สัญญาประกันต่อพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ 1.2 สัญญาประกันต่อศาลสอบสวนหรือพนักงานอัยการ 7. การเปลี่ยนสัญญาประกัน 8. การถอนสัญญาประกัน 9. ผู้มีอำนาจจับกุมผู้หลบหนีสัญญาประกัน 10. การคืนหลักประกัน 11. การบังคับตามสัญญาประกัน บทที่ 6 อำนาจของเจ้าพนักงานและศาล 1. อำนาจพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ 1.1 อำนาจและเขตอำนาจในการสืบสวน 1.2 หลักในการสืบสวน 1.3 ระยะเวลาในการสืบสวน 2. อำนาจพนักงานสอบสวน 1.1 วัตถุประสงค์ของการสอบสวน 1.2 ผู้ทำการสอบสวน 1.3 เขตอำนาจของพนักงานสอบสวน 1.4 ความผิดที่อยู่ในเขตอำนาจของพนักงานสอบสวน 1.5 พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ 3. อำนาจพนักงานอัยการ 1.1 อำนาจหน้าที่โดยทั่วไป 1.2 อำนาจเมื่อได้รับสำนวนการสอบสวน 1.3 ผลการสั่งคดีของพนักงานอัยการ 1.4 การจัดการเมื่อมีคำสั่งไม่ฟ้องคดี 4. อำนาจศาล 1.1 เขตอำนาจศาล 1.2 อำนาจชำระคดี 1.3 การโอนคดี 1.4 การตั้งรังเกียจผู้พิพากษา บทที่ 7 การฟ้องและการระงับคดีอาญา 1. ผู้มีอำนาจฟ้องคดีอาญา 1.1 พนักงานอัยการ 1.2 ผู้เสียหาย 2. การเข้าเป็นโจทก์ร่วม 3. การฟ้องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา 4. การรับมรดกความ 5. การถอนฟ้องคดีอาญา 1.1 วิธีการถอนฟ้อง 1.2 ขั้นตอนการถอนฟ้อง 1.3 ผลของการถอนฟ้อง 6. สิทธิฟ้องคดีอาญาระงับไป 1.1 โดยความตายของผู้กระทำผิด 1.2 ในคดีความผิดต่อส่วนตัว เมื่อได้ถอนคำร้องทุกข์ ถอนฟ้องหรือยอมความกัน โดยถูกต้องตามกฎหมาย 1.3 เมื่อคดีเลิกกันตามมาตรา 37 1.4 เมื่อมีคำพิพากษาเสร็จเด็ดขาดในความผิดซึ่งได้ฟ้อง 1.5 เมื่อมีกฎหมายใช้ภายหลังการกระทำผิดยกเลิกความผิดเช่นนั้น 1.6 เมื่อคดีขาดอายุความ 1.7 เมื่อมีกฎหมายยกเว้นโทษ