คดี MILLER กับหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา บทเรียนจากกฎหมายรัฐธรรมนูญ | ศูนย์หนังสือจุฬาฯ
คดี MILLER กับหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา บทเรียนจากกฎหมายรัฐธรรมนูญ
only ebook
คดี MILLER กับหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา บทเรียนจากกฎหมายรัฐธรรมนูญ

คดี MILLER กับหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา บทเรียนจากกฎหมายรัฐธรรมนูญ

Author : รวินท์ ลีละพัฒนะ

E-book

฿ 179.00

200.00

Discount 10 %

TAGS :

Book info

Barcode : 3000000009059

Book category : กฎหมาย

Product details : คดี MILLER กับหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา บทเรียนจากกฎหมายรัฐธรรมนูญ

ในช่วง พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016) ได้เกิดเหตุการณ์สำคัญซึ่งชักชวนให้บรรดานักกฎหมายต้องหันมาอภิปรายกลไกของรัฐธรรมนูญสหราชอาณาจักร ได้แก่ ผลของการออกเสียงประชามติเบร็กซิท (Brexit)ซึ่งประชาชนเสียงข้างมากได้ลงคะแนนสนับสนุนให้สหราชอาณาจักรแยกตัวออกจากสหภาพยุโรป ผลการ ลงคะแนนดังกล่าวสร้างความสับสนและผิดหวังต่อประชาชนจำนวนมาก ทั้งยังนำไปสู่ความแตกแยกทางสังคมในดินแดนทั้ง 4 ส่วนของสหราอาณาจักร ได้แก่ อังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือการเตรียมการแจ้งความประสงค์แยกตัวออกจากสหภาพยุโรปโดยรัฐบาลสหราชอาณาจักรนำไปสู่การ ฟ้องคดีที่รู้จักกันดีทั่วโลกอย่างคดี Miller โดยฝ่ายผู้ร้องนำโดยนางจีนา มิลเลอร์ (Gina Miller) โต้แย้งว่าหลักกฎหมายซึ่งเป็น “ฐาน” แห่งอำนาจของการริเริ่มกระบวนการเบร็กซิท ได้แก่ หลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติเป็นของรัฐสภา มิใช่พระราชอำนาจดั้งเดิมของพระมหากษัตริย์ (prerogative power) ดังที่รัฐบาลกล่าวอ้าง คำพิพากษาของศาลฎีกาในคดี Miller เมื่อ พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017) เป็นดั่งอนุสรณ์สำคัญทางกฎหมายมหาชนที่ทำให้ผู้ศึกษากฎหมายได้มีโอกาสศึกษาหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศที่ไม่มี กฎหมายสูงสุดที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่ชื่อรัฐธรรมนูญ

Related products

Customers who bought this product Also bought this product

Review score from buyers

0 Full 5 Star
0 People
0
0
0
0
0