คดี MILLER กับหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา :บทเรียนจากกฎหมายรัฐธรรมนูญ | ศูนย์หนังสือจุฬาฯ
คดี MILLER กับหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา :บทเรียนจากกฎหมายรัฐธรรมนูญ
คดี MILLER กับหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา :บทเรียนจากกฎหมายรัฐธรรมนูญ

คดี MILLER กับหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา :บทเรียนจากกฎหมายรัฐธรรมนูญ

ผู้แต่ง : รวินท์ ลีละพัฒนะ

หนังสือปกอ่อน

฿ 170.00

200.00

ประหยัด 15 %

TAGS :

ข้อมูลหนังสือ

Barcode : 9789740340386

ISBN : 9789740340386

ปีพิมพ์ : 1 / 2564

ขนาด ( w x h ) : 190 x 260 mm.

จำนวนหน้า : 113 หน้า

หมวดหนังสือ : กฎหมาย

รายละเอียดสินค้า : คดี MILLER กับหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา :บทเรียนจากกฎหมายรัฐธรรมนูญ

คดี MILLER กับหลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา :บทเรียนจากกฎหมายรัฐธรรมนูญสหราชอาณาจักรในเหตุการณ์เบร็กซิท ในช่วง พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016) ได้เกิดเหตุการณ์สำคัญซึ่งชักชวนให้บรรดานักกฎหมายต้องหันมาอภิปรายกลไกของรัฐธรรมนูญสหราชอาณาจักร ได้แก่ ผลของการออกเสียงประชามติเบร็กซิท (Brexit) ซึ่งประชาชนเสียงข้างมากได้ลงคะแนนสนับสนุนให้อาณาจักรแยกตัวออกจากสหภาพยุโรป ผลการลงคะแนนดังกล่าวสร้างความสับสนและผิดหวังต่อประชาชนจำนวนมาก ทั้งยังนำไปสู่ความแตกแยกทางสังคมในดินแดนทั้ง 4 ส่วนของสหราชอาณาจักร ได้แก่ อังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ การเตรียมการแจ้งความประสงค์แยกตัวออกจากสหภาพยุโรปโดยรัฐบาลสหราชอาณาจักรนำไปสู่การฟ้องคดีที่รู้จักกันดีทั่วโลกอย่างคดี Miller โดยฝ่ายผู้ร้องนำโดยนางจีนา มิลเลอร์ (Gina Miller) โต้แย้งว่าหลักกฎหมายซึ่งเป็น “ฐาน” แห่งอำนาจของการริเริ่มกระบวนการเบร็กซิท ได้แก่ หลักอำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติเป็นของรัฐสภา มิใช่พระราชอำนาจดั้งเดิมของพระมหากษัตริย์ (prerogative power) ดังที่รัฐบาลกล่าวอ้าง คำพิพากษาของศาลฏีกาในคดี Miller เมื่อ พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017) เป็นดั่งอนุสรณ์สำคัญทางกฎหมายมหาชนที่ทำให้ผู้ศึกษากฎหมายได้มีโอกาสศึกษาหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศที่ไม่มีกฎหมายสูงสุดที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่ชื่อรัฐธรรมนูญ

สินค้าที่เกี่ยวข้อง

ลูกค้าที่ซื้อสินค้านี้ ซื้อสินค้านี้ด้วย

คะแนนรีวิวจากผู้ซื้อจริง

0 เต็ม 5 ดาว
0 คน
0
0
0
0
0