หนังสือปกอ่อน
฿ 315.00
350.00
ประหยัด 10 %
Barcode : 9786168311219
ISBN : 9786168311219
ปีพิมพ์ : 1 / 2567
ขนาด ( w x h ) : 0 x 0 mm.
จำนวนหน้า : 0 หน้า
หมวดหนังสือ : เศรษฐศาสตร์ทั่วไป
บทที่ 1 ความเป็น “ต่างจังหวัด” ว่าด้วยนิยาม และแนวคิดท้องถิ่น
- ว่าด้วยต่างจังหวัด ไปจนถึงแนวคิดท้องถิ่นนิยม
- กระแสท้องถิ่นนิยม- ราชาชาตินิยมที่เติบโต กับกระแสต้อต้านตะวันตก หลังวิกฤตเศรษฐกิจ 2540
- ท้องถิ่นนิยม ภายใต้กระบวนการสร้างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
- สรุป
บทที่ 2 ต่างจังหวัด ภายใต้การควบคุมของอำนาจ-ความรู้
- มณฑลเทศาภิบาล กับอำนาจ- ความรู้ท้องถิ่นแบบอาณานิคม
- ต่างจังหวัด กับอำนาจ-ความรู้แบบวัฒนธรรมชุมชนจากอิทธิพลฝ่ายซ้าย สู่ พระราชอำนาจนำ
- การโต้กลับของต่างจังหวัด และการ “พูดนอกประโยค”
- สรุป
บทที่ 3 ว่าด้วยการเขียนประวัติศาสตร์ และโครงสร้างพื้นฐานความทรงจำของท้องถิ่น-ต่างจังหวัด
- อาณานิคมนิพนธ์ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในฐานะดินแดนใต้อาณานิคมสยาม
- เรื่องจากท้องถิ่น หน้าม่านประชาชาติไทย โอกาสในการเปล่งเสียงของคนต่างจังหวัด
- สารคดีประวัติศาสตร์ท้องถิ่นใต้ร่มอนุรักษนิยมและทุนนิยมการพิมพ์ การแสวงหาตำแหน่งแห่งที่ของคนต่างจังหวัด
- ประวัติศาสตร์ของจังหวัดและภูมิภาค กับอุดมการณ์ท้องถิ่นนิยม-ราชาชาตินิยมครอบงำพื้นที่ ทศวรรษ 2520
- 2 แพร่งแห่งประวัติศาสตร์ท้องถิ่นบนฐานงานวิจัยและสำรวจ
- ความคึกคักวงวิชาการระดับชาติ-ท้องถิ่น
- กรมศิลปากร โครงสร้างพื้นฐานด้านความทรงจำและประวัติศาสตร์ชาติ
- ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กับ ความเข้มข้นทางการเมือง หลังรัฐประหาร 2549
- สรุป
บทที่ 4 ต่างจังหวัดในมิติของพื้นที่และอำนาจ : ภาคเมือง
- ย่านราชการ สัญลักษณ์และปฏิบัติการรวมศูนย์อำนาจแบบอาณานิคม จากยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ถึง ยุคสงครามเย็น
- ตลาด แหล่งงาน ย่านการค้า และการคมนาคมขนส่ง ความเป็นเมืองในฐานะศูนย์กลางการขนส่งบนฐานเศรษกิจ
- รถส่วนบุคคล สินค้าที่เติบโดบนฐานระบบขนส่งมวลชนที่ไร้ประสิทธิภาพ
- จากตลาดคนพื้นถิ่น ตลาดคนจีน และการผสมผสานของโอกาสทางเศรษฐกิจ
- โอกาสทางการศึกษา โรงเรียนมัธยม วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย จากเมืองอันเป็นที่ตั้งของสถาบันศึกษาสู่ เมืองสถาบันการศึกษาโดยตัวของมันเอง
- ตัวเมือง กับ การเข้าถึงบริการด้านการแพทย์
- ผู้มีอิทธิพลระดับจังหวัด-อำเภออีกขาหนึ่งของสองนคราประชาธิปไตย
- การเมืองท้องถิ่น สถาเทศบาล-เมือง-ตำบล พลังที่ล้มลุกพร้อมกับประชาธิปไตย
- สรุป
บทที่ 5 ต่างจังหวัดในมิติของพื้นที่และอำนาจ: ภาคชนบท
- กบฏชาวนา- ประชาชน ความขัดแย้งที่รัฐอยากให้ลืม
- การไล่ชาวบ้านออกจากป่าด้วยสัมปทานป่าไม้-เหมืองแร่ และกฎหมายสร้างป่าที่ไร้ผู้คน
- การเดินทางขนส่งในชนบทที่ยากลำบาก การขยายตัวของถนนเพื่อปราบคอมมิวนิสต์สู่ การขถึงผลผลิต และแหล่งงาน
- การขยายตัวของพื้นที่ปลูกพืชไร่-ที่ดินในเขตป่าพ่อค้าคนกลาง และการตกเขียว
- ระบบการผลิตใหม่ๆ ในชนบท เกษตรพันธสัญญา การซื้อขายที่ดิน และโรงงานในหมู่บ้าน
- นักเรียน นักศึกษาต่างอำเภอ กับการเดินทางเข้าไปเรียนในตัวเมือง
- การอพยพไปทำงานนอกหมู่บ้านสู่ ต่างประเทศ การพลัดถิ่นและคืนถิ่น
- ระบบอุปถัมภ์ในชนบทและผู้มีอิทธิพลกับการเมืองท้องถิ่นและการกระจายอำนาจหลังรัฐธรรมนูญ 2540
- สรุป
บทที่ 6 เสียงของต่างจังหวัดในวัฒนธรรมประชานิยม
- วัฒนธรรมไทยที่เบียดขับให้ต่างจังหวัดเป็นเพียงส่วนย่อยของวัฒนธรรมแห่งชาติ
- สำเนียงส่อภาษา กิริยาส่อสกุล ภาษาไทย ชนชั้น และอารมณ์ความรู้สึก
- พุทธศาสนา ความเชื่อและศรัทธาที่ถูกกำกับโดย อำนาจ ชนชั้น การท่องจำและพิธีกรรม
- วัฒนธรรมไทย กับ อำนาจที่สร้างพื้นที่ และเรือนร่าง พลเมืองแห่งความนอบน้อมเชื่อฟัง
- ล้านนาป๊อบ แต่ไม่ป๊อบอย่างที่คิดกัน วัฒนธรรมภาคเหนือและการเชิดชูความสูงส่งบนฐานประชากรที่ต่ำกว่าที่อื่น
- ลาว-อีสานป๊อบ วัฒนธรรมประชานิยมตัวจริง อิทธิพลทางวัฒนธรรมที่ครองพื้นที่อันกว้างขวางจากฐานประชากร
- ปักษ์ใต้ป๊อบ ความเป็นชายที่ขายได้ กับ รสชาติอาหารที่เผ็ดร้อน อิทธิพลพุทธเหนือมลายูมุสลิม
- ไทยลูกทุ่งและวิถีของลิเก-ตลกคาเฟ่ บนฐานประชากรภาคกลางที่ซ้อนทับกับกรุงเทพฯ
- สรุป วัฒนธรรมประชานิยม รูระบายความตึงเครียดของความสัมพันธ์ที่ไม่เท่าเทียมของเมืองหลวงและต่างจังหวัด
บทที่ 7 บทสรุป